Briefing / Asia 3 minutes

ประเทศ ไทย: วิกฤตการเมืองกับปัญหาความไม่สงบในภาคใต้

บทนำ

รัฐบาล นายก รัฐมนตรี สมัคร สุนทร เวช กำลัง ต่อสู้ เพื่อ ความ อยู่ รอด ทางการ เมือง เขา ได้ มอบ ความ รับ ผิด ชอบ อย่าง เต็ม ที่ ให้ กับ ทหาร ใน การ จัดการ กับ ปัญหา ความ ไม่ สงบ ใน พื้นที่ ชายแดน ภาค ใต้ ซึ่ง ประชากร ส่วน ใหญ่ ใน พื้นที่ เป็น มุสลิม ปัญหา ความ ไม่ สงบ ได้ คร่า ชีวิต ผู้คน ไป แล้วก ว่า 3,000 คนใน รอบ สี่ ปี ที่ ผ่าน มา กองทัพ ได้ ปรับ โครงสร้าง การ ปฏิบัติ การ และ ประสบ ความ สำเร็จ ระดับ หนึ่ง ใน การ ลด จำนวน การ โจมตี ของ ฝ่าย ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ ความ สำเร็จ เพียง ชั่วคราว ทางการ ทหาร แม้ จะ เป็น สิ่ง ที่ น่า ยินดี แต่ ก็ ไม่ สามารถ สลาย ปัญหา อึดอัด คับ ข้องใจ ที่ ฝัง ราก อยู่ ของ คน เชื้อ สาย มลายู มุสลิม ที่ เป็น คน กลุ่ม น้อย ใน ประเทศไทย เพื่อ จะ แก้ ปัญหา เหล่า นี้ รัฐบาล จำเป็น ต้อง ระดม สรรพ กำลัง และ เจตจำนง ทางการ เมือง เพื่อ ทำให้ เกิด ความ ริเริ่ม ทาง นโยบาย อย่าง จริงจัง

ความ ปั่น ป่วน วุ่นวาย ทางการ เมือง ใน กรุงเทพฯ ได้ เบี่ยง เบน ความ สนใจ ของ รัฐบาล ออก ไป จาก ปัญหา ความ รุนแรง ใน ชายแดน ภาค ใต้ รัฐบาล สมัคร ถูก บีบ คั้น จาก ปัญหา หลาย ด้าน ด้วย กัน พรรค ร่วม รัฐบาล สาม พรรค กำลัง เผชิญ กับ ปัญหา การ ยุบ พรรค ด้วย ข้อ กล่าว หา ว่า ทุจริต การ เลือก ตั้ง ซึ่ง รวม ถึง พรรค พลัง ประชาชน ด้วย ความ พยายาม ของ รัฐบาล ใน การ แก้ไข รัฐธรรมนูญ เพื่อ หลีก เลี่ยง การ ถูก ยุบ พรรค นำ ไป สู่ การ เดิน ขบวน ประท้วง ของ ประชาชน นำ โดย กลุ่ม พันธมิตร ประชาชน เพื่อ ประชาธิปไตย ซึ่ง การ รณรงค์ ทางการ เมือง ของ กลุ่ม นี้ ใน ปี 2549 เป็น เหตุ ที่ นำ ไป สู่ การ รัฐประหาร ที่ ขับ อดีต นายก รัฐมนตรี ทักษิณ ชิน วัตร ออก จาก อำนาจ ระหว่าง เดือน พฤษภาคม ถึง กรกฎาคม 2551 มี รัฐมนตรี สาม คนใน รัฐบาล สมัคร ถูก กดดัน ให้ ลา ออก จาก ตำแหน่ง หนึ่ง ใน นั้น คือ นาย นพ ดล ปัทมะ รัฐมนตรี ว่าการ กระทรวง ต่าง ประเทศ ซึ่ง ต้อง ออก จาก ตำแหน่ง เมื่อ เผชิญ กับ กระแส ชาตินิยม อัน เกรี้ยว กราด ที่ ถูก ปลุก ปั่น โดย พลัง ต่อ ต้าน รัฐบาล ใน ประเด็น ปัญหา ข้อ พิพาท เรื่อง เขตแดน กับ ประเทศ กัมพูชา

ท่ามกลาง สภาวการณ์ ดัง กล่าว รัฐบาล ได้ ปล่อย ให้ กองทัพ คุม การ ปฏิบัติ การ ใน ชายแดน ภาค ใต้ ซึ่ง ก็ มี ความ คืบ หน้า มาก ขึ้น ใน การ ลด จำนวน เหตุการณ์ ความ รุนแรง ลง ใน ช่วง ครึ่ง แรก ของ ปี 2551 แต่ กลุ่ม ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ ซึ่ง มี การ จัด ตั้ง อย่าง ดี และ เข้ม แข็ง ยัง ไม่ อาจ ถูก ปราบ ให้ พ่าย แพ้ ลง ไป ง่ายๆ และ ความ ก้าวหน้า ของ ปฏิบัติ การ ทหาร นั้น ก็ มี ราคา ที่ ต้อง จ่าย การ เปิด “ ยุทธการ พิทักษ์ แดน ใต้ ” ของ กองทัพ ซึ่ง เป็นการ เข้า กวาดล้าง จับกุม ผู้ ต้อง สงสัย ว่า เกี่ยวข้อง กับ เหตุการณ์ ความ ไม่ สงบ ตั้งแต่ เดือน มิถุนายน 2550 ได้ นำ ไป สู่ การ ควบคุม ตัวผู้ ที่ทาง การ สงสัย ว่า เป็น ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ และ แนว ร่วม อย่าง เหวี่ยง แห นับ พัน คน มี รายงาน ที่ เชื่อ ถือ ได้ ระบุ ว่า มี การ ซ้อม ทรมาน ผู้ ถูก ควบ คุมตัว ดัง เช่น เหตุการณ์ ที่ อิหม่าม ราย หนึ่ง ถูก ทำร้าย ร่างกาย จน เสีย ชีวิต ขณะ ถูก ควบคุม ตัว โดย ทหาร ใน เดือน มีนาคม 2551 ซึ่ง ถูก ประณาม อย่าง รุนแรง จาก บรรดา ผู้ ทำงาน ด้าน สิทธิ มนุษย ชน แต่ ที่ ผ่าน มา มี ความ คืบ หน้า น้อย มาก ใน การ ดำเนิน การ ให้ เจ้า หน้าที่ ด้าน ความ มั่นคง รับ ผิด ชอบ ต่อ การ ใช้ อำนาจ อัน มิ ชอบ

การ ยุติ ความ รุนแรง ใน ภาค ใต้ ต้องการ มากกว่า เพียง ปฏิบัติ การ ทาง ทหาร ใน ขณะ นี้ ที่ ฝ่าย ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ กำลัง อยู่ ใน สถานะ ตั้ง รับ จึง ถือ เป็น ช่วง เวลา อัน ดี ที่ รัฐบาล จะ ดำเนิน จังหวะ ก้าว สำคัญ ใน การ จัดการ กับ สาเหตุ ต้นตอ ของ ความ ขัด แย้ง อย่างไร ก็ตาม สภาวะ ทาง ตัน ทางการ เมือง ใน กรุงเทพฯ ทำให้ เป็น ไป ได้ ยาก ที่ รัฐบาล จะ หัน ไป สนใจ ปัญหา ภาค ใต้ ใน ระยะ เวลา อัน ใกล้ นี้ หาก ปัญหา ถูก ปล่อย ทิ้ง ไว้ เนิ่น นาน เท่าไร การ ควบคุม มิ ให้ ปัญหา ลุกลาม ออก ไป ยิ่ง ยาก ขึ้น เท่านั้น ทั้งนี้ ไม่ ต้อง พูด ถึง การ ทำให้ การ แก้ไข สัมฤทธิ์ ผล

การ ที่ กลุ่ม ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ ไม่มี การนำ ทางการ เมือง และ นโยบาย ที่ ประกาศ อย่าง ชัดเจน นับ เป็น อุปสรรค สำคัญ ใน การ แสวงหา ข้อ ยุติ โดย การ เจรจา อย่างไร ก็ตาม มี มาตรการ หลาย อย่าง ที่ รัฐบาล สามารถ ดำเนิน การ ได้ เอง เพื่อ แก้ไข ความ ไม่ พอใจ ของ ชาว มลายู ใน เรื่อง การ ศึกษา ความ ยุติธรรม ภาษา ประวัติศาสตร์ และ เศรษฐกิจ แต่ ความ ริเริ่ม เช่น นี้ เรียก ร้อง ต้องการ วิธี คิด แบบ ใหม่ จาก รัฐ ไทย ซึ่ง มี พลเมืองส่วน ใหญ่ เป็น ชาว พุทธ กล่าว คือ รัฐ ไทย ต้อง ตระหนัก และ ยอมรับ อัต ลักษณ์ ทาง ชาติพันธุ์ ที่ มี ลักษณะ เฉพาะ ของ ชาว มลายู มุสลิม และ อนุญาต ให้ พวก เขา สามารถ เป็น พลเมือง ไทย โดย มิ ต้อง สูญ เสีย วัฒนธรรม อัน แตก ต่าง ของ พวก เขา

รัฐบาล ไทย ควร จะ ดำเนิน การ ดัง ต่อ ไป นี้

  • แต่ง ตั้ง รอง นายก รัฐมนตรี หนึ่ง คน ให้ กำกับ ดูแล จัดการ กับ ปัญหา ความ รุนแรง ใน ภาค ใต้ โดย เฉพาะ แทนที่ จะ ปล่อย ให้การ แก้ไข ปัญหา อยู่ ใน มือ ของกอง ทัพ
     
  • เพิ่ม อำนาจ ให้ กับ ศูนย์ อำนวย การ บริหาร จังหวัด ชายแดน ภาค ใต้ ( ศอ . บต . ) โดย เร่งรัด ออก กฎหมาย เพื่อ รองรับ อำนาจ หน้าที่ ใน การ ปฏิบัติ งาน ของ ศอ . บต . และ ทำให้ ศอ . บต . เป็น อิสระ จาก กอง อำนวย การ รักษา ความ มั่นคง ภายใน ซึ่ง อยู่ ภาย ใต้ การ ควบคุม ของ ทหาร
     
  • ยกเลิก กฎ อัยการ ศึก แก้ไข พระ ราช กำหนดการ บริหาร ราชการ ใน สถานการณ์ ฉุกเฉิน และ พระ ราช บัญญัติ รักษา ความ มั่นคง ภายใน เพื่อ ทำให้ เจ้า หน้าที่ ความ มั่นคง ต้อง รับ ผิด ชอบ ต่อ การ ก ระ ทำ ของ ตน มาก ขึ้น และ อนุญาต ให้ ผู้ ถูก ควบคุม ตัว สามารถ เข้า ถึง ทนาย และ ครอบครัว โดย ทันที
     
  • รับ ประกัน ว่า จะ ต้อง มี ผู้รับ ผิด ชอบ ต่อ การ ละเมิด สิทธิ มนุษย ชน ใน อดีต ไม่ ว่า จะ เป็น กรณี การ เสีย ชีวิต ของ ชาว มลายู มุสลิม เกือบ 200 คนใน เหตุการณ์ ตากใบ และ กรือ เซะ ใน ปี 2547 ซึ่ง เป็น วิธี ที่ มี ประสิทธิภาพ ที่สุด ใน การ รื้อฟื้น ความ เชื่อ มั่น ของ ชาว มลายู มุสลิม กลับ ขึ้น มา ใหม่
     
  • ประกาศ ชัดเจน ว่า รัฐบาล พร้อม ที่ จะ เจรจา อย่าง จริงจัง กับ ผู้นำ ที่แท้ จริง ของ กลุ่ม ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ ทว่า ต้อง กำหนด เงื่อนไข ว่า คู่ เจรจา ต้อง แสดง ให้ เห็น ว่า พวก เขา มี อำนาจ ควบคุม ผู้ ก่อ ความ ไม่ สงบ ใน พื้นที่ ได้ อย่าง แท้จริง
     
  • พิจารณา อย่าง จริงจัง ถึง การ มอบ อำนาจ ปกครอง ตนเอง ใน บาง ระดับ หรือ การก ระ จา ยอำ นาจ ไป สู่ พื้นที่ ชายแดน ภาค ใต้ เพื่อ ช่วย ยุติ ความ ขัด แย้ง

กรุงเทพฯ/บรัสเซลส, 28 สิงหาคม 2551

I. Overview

The government of Thai Prime Minister Samak Sun­da­ravej is struggling for political survival and has handed the military full responsibility for tackling the violent insurgency in the Muslim-dominated Deep South, which has claimed more than 3,000 lives in the past four years. The military has restructured its operations and has made headway in reducing the number of militant attacks, but temporary military advances, though welcome, do nothing to defuse the underlying grievances of the Malay Muslim minority. For that to happen, the otherwise preoccupied government needs to find the will and energy to undertake a serious policy initiative.

The political turmoil in Bangkok continues to distract attention from the violence in the South. Samak’s govern­ment is threatened on several fronts. Three parties in the coalition, including his own People Power Party (PPP), face dissolution on charges of electoral fraud. The government’s efforts to amend the constitution to avoid this threat led to mass demonstrations organised by the People’s Alliance for Democracy, whose campaigns in 2006 led to the coup that ousted Samak’s patron, Thaksin Shinawatra. Three of Samak’s ministers were forced to resign between May and July 2008, including Foreign Minister Noppadon Patama, who left office in the face of nationalist anger whipped up by anti-government forces over a border dispute with Cambodia.

Against this backdrop, the military has been left to lead operations in the Deep South and has made some progress in reducing violent attacks in the first half of the year. But the insurgents, well-established and hardened, are far from being defeated, and the advances come at a price. The “sweeping operations” since June 2007 have involved the indiscriminate detention of thousands of suspected insurgents and sympathisers, and there are credible reports of torture of detainees. The case of an imam beaten to death in military custody in March 2008 attracted severe condemnation from human rights advocates. There has been little progress on holding security personnel accountable for notorious past abuses.

Ending the violence in the Deep South requires more than a military response. Now, with the insurgents on the defensive, is a good time to take decisive steps to address the root causes of the conflict. The political deadlock in Bangkok, however, makes it unlikely that the government will be able to turn its attention to the Deep South any time soon. The longer this is put off, the harder it will become to contain, let alone resolve the conflict.

The insurgency’s lack of a declared political leadership or platform is a major obstacle in the search for a negotiated settlement. Nonetheless, there is much that the government could do unilaterally to address Malay grievances in the realms of education, justice, language, history and economy. But this requires a rethinking on the part of the predominantly Buddhist state, which needs to recognise the distinct ethnic identity of Malay Muslims and find ways of allowing them to be Thai citizens without having to compromise their cultural differences.

In particular, the government should:

  • appoint a deputy prime minister to take charge of the effort to cope with southern violence, instead of allowing the military to lead on the issue;
     
  • empower the Southern Border Provinces Administrative Centre (SBPAC) by expediting the enactment of a law to govern its operations and to make it independent from the military-controlled Internal Security Operations Command;
     
  • revoke martial law, amend the emergency decree and the internal security act to increase accountability of the security forces, and allow detainees prompt access to lawyers and family;
     
  • ensure accountability for past human rights abuses, such as the deaths of nearly 200 Muslims in the 2004 Tak Bai and Krue Se incidents – the single most effective way to rebuild trust with Malay Muslims;
     
  • make clear it is ready to negotiate seriously with genuine leaders of the insurgency, but make it a condition of the negotiations that their inter­locutors demonstrate they genuinely control insurgents on the ground; and
     
  • give serious consideration to ways of granting some degree of self-rule, or decentralisation of power, to help end the conflict.

Bangkok/Brussels, 28 August 2008

Subscribe to Crisis Group’s Email Updates

Receive the best source of conflict analysis right in your inbox.